close

 


Ruby林珮瑩在FACEBOOK上每周發表一篇長文章,分享她經營新媒體的看法。

Ruby林珮瑩提供

以下為全文

------------------------------

 

今天的主題是 2020下半年的行銷變革》

新冠疫情爆發之後

許多人發現網路及數位轉型的重要性紛紛往網路市場砸廣告

雖然看起來整體的網路流量不斷的成長

但廣告行銷卻受到來自資本與市場的雙重壓力

不少的媒體人或廣告投放者應該都發現了一件事情:廣告效率正在嚴重下滑!

層出不窮的新媒體管道雖然帶來了新的機遇

另一方面卻讓觸及消費者的可能性降低了

而導致廣告成效不彰的主要因素有兩點:

1 關鍵字的競爭越來越激烈,購買廣告的費用越來越高

2新媒體碎片化的屬性讓觀眾的注意力越來越分散

簡單來說就是:內容之間產生了彼此競爭的關係

網路購物或直播拍賣都是一個價格導向的戰場

面堆越來越多的競爭者

商家只能不斷壓低售價來換取銷售空間

卻又必須面對越來越高昂的廣告費用

在這種競爭的環境下

我一位經營高端服飾品牌的朋友就曾跟我說

在疫情爆發之後

雖然網路搜尋的人變多了

但買氣卻變得保守了

再加上關鍵字廣告越來越貴

導致她現在的平均獲客成本要高達2000

獲客成本過高已經逐漸成為整個新興媒體產業的主要痛點

也就是說

如果你的內容不能持續吸引觀眾的注意

即使投入大量的廣告也只能獲得慘澹的轉化率

面對這種產業的變革

大體而言有三個因應的方向可以參考:

1. 新媒體渠道整合投放:

也就是根據不同社群平台的屬性

依據媒體觸及的用戶數據

調整內容的投放與曝光

必要時依不同的平台調整出不同的行銷策略

改變過去用單一內容廣灑平台廣告的做法

2. 去廣告臭的內容:

廣告臭一詞來自日文

比喻受眾接觸到廣告時

就好像聞到臭味想要逃跑一樣

企業可以嘗試把品牌的核心文化融入當前熱門的事件、內容、文化或IP之中

衍生出更豐富的廣告內容

增加在消費者之間的傳播能力

3. 邀請用戶體驗創新:

品牌價值的一個重要維度

就是持續邀請用戶共用體驗創新的能力

簡單來說

就是讓用戶參與到產品的生產之中

從共創產品的過程中

讓消費者與品牌深度結合!

你怎麼看呢?

 

大學生了沒出道的RUBY林珮瑩近年轉型成立經紀公司-起點娛樂,替企業做網路口碑行銷企劃和運營,目前旗下有超過百位直播主,對於新媒體運營的她有非常多的想法,有興趣的朋友可以去關注她的FACEBOOK

 

Ruby - 林珮瑩粉絲專頁:https://www.facebook.com/rubybaby419/

Ruby林珮瑩IG https://www.instagram.com/rubybaby419/

Ruby林珮瑩 痞客邦部落格

https://pinkyin419.pixnet.net/blog

 


ข้อมูลอาหารสด อาหารแห้ง อาหารข้น สำหรับเลี้ยงแพะ

อาหารและการให้อาหารแพะ

         แพะสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยการกินพืชอาหารหยาบคุณภาพต่ำได้ในสภาวะขาดแคลนอาหารหยาบ แพะสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยการกินหญ้าตามธรรมชาติ หรือวัชพืชต่างๆ เพียงอย่างเดียวได้ แต่ในระยะอุ้มท้องเลี้ยงลูกและระยะเจริญเติบโตหลังหย่านมจนถึงก่อนผสมพันธุ์ แพะต้องการอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนะสูง ดังนั้นจึงจำเป็นต้องเสริมอาหารอื่นให้พอกับความต้องการเพื่อให้ได้ผลผลิตอย่างเต็มที่ ซึ่งวิธีการให้อาหารมีความแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ของผู้เลี้ยง

 

อาหารสำหรับแพะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ อาหารหยาบ และอาหารข้น 

         อาหารหยาบ หมายถึง อาหารที่มีเยื่อใยสูงกว่า 18% มีลักษณะฟ่าม เบา ย่อยยาก ได้แก่ พวกพืชต่างๆ สัตว์ต้องกินเป็นจำนวนมากเพื่อให้ได้รับสารอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย พืชตระกูลถั่วเป็นอาหารหยาบที่มีคุณค่าทางโภชนะสูงที่สุด คุณค่าทางโภชนะในอาหารหยาบขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของดินที่ปลูก สภาพภูมิอากาศ และอายุพืชที่เก็บเกี่ยว ตลอดจนการเก็บรักษาหลังการเก็บเกี่ยวก่อนนำมาให้สัตว์กิน

 

         การให้อาหารประเภทหญ้า  ควรให้ปริมาณที่น้อยแต่บ่อยครั้ง เพื่อให้หญ้ามีลักษณะใหม่สดอยู่เสมอ ไม่ให้หญ้าครั้งละมากๆ จนทำให้หญ้าทับกันจนสัตว์กินไม่ทัน จะทำให้หญ้าเกิดกลิ่นอับ ไม่มีความน่ากิน และไม่ควรให้หญ้าที่เปียกชื้น เพราะอาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการท้องเสียได้  อาหารที่เหลือควรเก็บกวาดทิ้ง เพื่อป้องกันการสะสมของเชื้อโรค 

 

         อาหารข้น หมายถึง อาหารที่มีความเข้มข้นของโภชนะต่างๆ ต่อหน่วยน้ำหนักสูง แต่มีปริมาณเยื่อใยต่ำไม่เกิน 18% สามารถย่อยได้ง่าย สัตว์กินเพียงเล็กน้อยก็ได้สารอาหารที่ร่างกายดูดซึมนำไปใช้ประโยชน์ได้มาก

 

ความต้องการอาหารของแพะ

แพะเป็นสัตว์เคี้ยวเอื้องซึ่งมีกระเพาะหมักที่มีจุลินทรีย์อยู่ภายในทำหน้าที่ย่อยอาหาร ปกติแพะมีความต้องการอาหารหยาบ เช่น หญ้าสดต่างๆ ในปริมาณเฉลี่ยวันละประมาณร้อยละ 10 ของน้ำหนักตัว แพะต้องการน้ำและแร่ธาตุเสริมเป็นประจำ ส่วนความต้องการอาหารข้นของแพะมักให้ประมาณเฉลี่ยวันละ 0.5-1.0 กิโลกรัม หรือวันละ 1.5% ของน้ำหนักตัว แพะต้องการกินน้ำเฉลี่ยวันละประมาณ 5-9 ลิตร ความต้องการน้ำขึ้นอยู่กับสภาพอากาศของแต่ละพื้นที่ ชนิดของอาหารที่ให้ รวมถึงอายุ และระยะการให้ผลผลิตของแพะด้วย ซึ่งแพะที่กำลังให้ผลผลิตสูงจำเป็นต้องการน้ำในปริมาณที่สูงต่อวัน เราสามารถจำแนกความต้องการอาหารของแพะเป็นหมวดหมู่ดังนี้

 

1. ความต้องการน้ำ ถึงแม้ว่าแพะจะเป็นสัตว์ที่มีความสามารถในการอดน้ำได้เป็นเวลานาน แต่ผู้เลี้ยงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับเรื่องน้ำด้วยเช่นกัน โดยแพะต้องการน้ำสะอาดเพื่อการเจริญเติบโตและการสร้างผลผลิต ในตอนกลางวันแพะของไทยดื่มน้ำเฉลี่ยประมาณ 550 ซีซี. ซึ่งมากเป็นสี่เท่าของปริมาณน้ำที่กินในตอนกลางคืน (135 ซีซี.) หากเลี้ยงแพะแบบปล่อยแปลงความต้องการน้ำจะสูงกว่าการเลี้ยงแบบขังคอกประมาณ 2-3 เท่า หรือหากเลี้ยงแพะ ด้วยอาหารหยาบแห้ง หรือในวันที่อากาศร้อนจัด แพะ ควรได้รับน้ำอย่างน้อย 4-5 ส่วนของวัตถุแห้งที่กิน 1 ส่วน ดังนั้นควรจัดหาน้ำให้เพียงพอกับความต้องการของแพะประมาณวันละ 2 ลิตร แพะมักเลือกกินน้ำสะอาด ไม่ค้างในภาชนะจนมีกลิ่นเหม็น ไม่ชอบกินน้ำซึ่งมีสัตว์อื่นกินก่อนแล้ว ดังนั้นน้ำเลี้ยงแพะต้องสะอาด และเปลี่ยนน้ำอยู่บ่อยๆ จะทำให้แพะกินน้ำได้มากขึ้น โดยในช่วงฤดูร้อนน้ำที่ให้กับแพะควรเป็นน้ำที่มีอุณหภูมิต่ำ ไม่ชอบกินน้ำที่ตากแดดหรือมีอุณหภูมิสูง

 

2. การกินวัตถุแห้ง (dry matter intake: DMI) หมายถึง ปริมาณอาหารที่สัตว์ได้รับที่ปราศจากน้ำหนักของน้ำที่เป็นองค์ประกอบในอาหารที่ให้ ดังนั้นผู้เลี้ยงสัตว์จึงจำเป็นต้องทราบคุณสมบัติของอาหารที่ให้สัตว์กินด้วย โดยปริมาณการกินอาหารของแพะขึ้นอยู่กับพันธุ์ (เนื้อหรือนม) และสภาพแวดล้อมทั่วๆ ไปแพะนมในเขตหนาวอาจกินอาหารที่เป็นวัตถุแห้งถึง 56% ของน้ำหนักตัวแต่แพะนมในเขตร้อนจะกินวัตถุแห้งเพียง 45% ของน้ำหนักตัว แพะเนื้อในเขตร้อนจะกินวัตถุแห้งประมาณ 3% ของน้ำหนักตัว เป็นต้น โดยทั่วๆ ไปแพะที่หนัก 1030 กิโลกรัมจะต้องการวัตถุแห้งอยู่ระหว่าง 4001,200 กรัม/วัน โดยสัตว์ที่น้ำหนักมากกำลังเติบโตหรือกำลังให้นมย่อมต้องการวัตถุแห้งมากขึ้นด้วย

  • แพะกินอาหารวัตถุแห้งคิดเป็นประมาณ 3% ของน้ำหนักตัว
  • แพะรุ่นกินอาหารวัตถุแห้งคิดเป็นประมาณ 2.6% ของน้ำหนักตัว
  • แพะระยะกำลังให้น้ำนมกินมากกว่าประมาณ 4-5% ของน้ำหนักตัว
  • ระยะอุ้มท้องใกล้คลอดกินได้น้อยลง
  • อาหารที่กิน 60% เป็นใบไม้และกิ่งอ่อน
  • 40% เป็นไม้พุ่มและหญ้า

 

3. ความต้องการพลังงานโปรตีนและโภชนะอื่นๆ แพะต้องการพลังงานโปรตีนเพื่อการดำรงชีพ และการเจริญเติบโตการผลิตนมพลังงานในรูปของโภชนะย่อยได้รวม (TDN) สำหรับแพะที่หนัก 1030 กิโลกรัม จะต้องการพลังงานในรูปโภชนะย่อยได้อยู่ระหว่าง 0.260.80 กก./วัน

 

4. ความต้องการแร่ธาตุ และวิตามิน แพะจำเป็นต้องได้รับแร่ธาตุและวิตามินสำหรับการดำรงชีพและการเจริญเติบโตตามความต้องการที่กำหนดแต่พืชอาหารสัตว์โดยทั่วไปมักจะมีแร่ธาตุอยู่ในระดับต่ำหรือขาดแร่ธาตุที่จำเป็นบางชนิดสำหรับแพะเสมอโดยเฉพาะการขาดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส แพะที่ขาดธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสจะทำให้การเจริญเติบโตลดลงกว่าปกติกระดูกไม่แข็งแรง หรืออ่อนแอต่อโรคบางชนิด ดังนั้นจึงควรให้แร่ธาตุชนิดนี้โดยการเติมลงไปในอาหาร หรือผสม หรือวางให้กินอย่างอิสระ แหล่งที่มาของแร่ธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส คือกระดูกป่นเปลือกหอยป่นและเกลือแกง เป็นต้น